Titroline Automatic Titration เครื่องไตเตรทอัตโนมัติ
Titroline Automatic Titration เครื่องไตเตรทอัตโนมัติ
Titroline® 5000 |
• วัดค่า pH/mV ความละเอียดสูง สำหรับ pH-, ORP-, silver – และ mV-อิเล็กโทรด
• วัดค่าอุณหภูมิ โดยใช้ Pt 1000 และ NTC 30 สำหรับการชดเชยค่าอุณหภูมิอัตโนมัติ
• ติดตั้งวิธีการมาตรฐาน เช่น FOS/TAC, alkalinity, total acidity in drinks, chloride etc. ในตัวเครื่องแล้ว
• ไตเตรทหาจุดสมมูล โดยการไตเตรทแบบเชิงเส้นและแบบไดนามิก
• ไตเตรทหาจุดยุติค่า pH และ mV ได้
Titroline® 7000 |
• วัดค่า pH/mV ความละเอียดสูงและอุณหภูมิ เพื่อไตเตรท pH, ISE, redox (ORP) sinv photometric
• มีอิเล็กโทรดขั้วไฟฟ้า (Polarizable electrode) สำหรับการไตเตรทหาจุดยุติ (“Dead-stop”)
• ไตเตรทหาจุดสมมูล โดยการไตเตรทแบบเชิงเส้นและแบบไดนามิก
• ไตเตรทหาจุดยุติค่า pH/ mV และ µA ได้
การประยุกต์ใช้งานในการวิเคราะห์น้ำ น้ำเสีย และสิ่งแวดล้อม |
• การวัดค่า pH, สภาพความเป็นด่าง (Alkalinity; p+m value)
• FOS/TAC
• Total Kjeldahl nitrogen
• ดัชนี permanganate และค่า COD
• คลอไรด์ในน้ำเสียการประยุกต์ใช้งานในการวิเคราะห์อาหาร
• ปริมาณเกลือ (คลอไรด์, โซเดียมคลอไรด์)
• ค่า pH, สภาพกรดทั้งหมด (total acidity ในไวน์ น้ำ และผลิตภัณฑ์อาหาร)
• กรดแอสคอบิก
• การวิเคราะห์โปรตีน (Kjeldahl-nitrogen ในนม)
• ค่าไอโอดีนและเปอร์ออกไซด์
การประยุกต์ใช้งานในการวิเคราะห์น้ำ น้ำเสีย และสิ่งแวดล้อม |
• การวัดค่า pH, สภาพความเป็นด่าง (Alkalinity; p+m value)
• FOS/TAC
• Total Kjeldahl nitrogen
• ดัชนี permanganate และค่า COD
• คลอไรด์ในน้ำเสีย
• คลอไรด์อิสระและคลอไรด์รวมในน้ำดื่ม
• Ca/Mg และ Total hardness
• ออกซิเจนตามวิธีการ Winkler การประยุกต์ใช้งานในการวิเคราะห์อาหาร
• ปริมาณเกลือ (คลอไรด์, โซเดียมคลอไรด์)
• ค่าpH, สภาพกรดทั้งหมด (total acidity ในไวน์ น้ำ และอาหาร)
• Formol number ในน้ำผลไม้และผัก
• กรดแอสคอบิก
• แคลเซียมในนม
• การวิเคราะห์โปรตีน (Kjeldahl-nitrogen ในนม)
• ค่าไอโอดีน เปอร์ออกไซด์ ไขมันอิสระและ saponification
• วิเคราะห์ค่ากรดซัลฟิวรัส (H2SO3)
Benchtop meter |
เครื่องวิเคราะห์สำหรับห้องปฏิบัติการ
Lab 745 สำหรับการวัดค่าออกซิเจน
Lab 845 สำหรับการวัดค่า pH, ORP และ ISE
Lab 845 สำหรับการวัดค่าการนำไฟฟ้า
คุณสมบัติ
• ผลิตจากประเทศเยอรมนี
• สามารถเชื่อมต่อ USB ได้
• บันทึกข้อมูลได้มากถึง 4000 ชุดข้อมูล
• สามารถตั้งรหัสตัวเลขเพื่อความปลอดภัย
• สามารถตั้งเวลาเปิด/ปิดเครื่องได้
• ตัวเครื่องทำจากวัสดุอะลูมิเนียมที่ทนทาน
• หน้าจอแสดงผลกราฟิกแบบ LCD
• สามารถใช้งานได้ทันที (มาพร้อมกับขาตั้ง, แหล่งจ่ายไฟ, เซ็นเซอร์ และบัฟเฟอร์)
Portable meter เครื่องวิเคราะห์แบบพกพา |
Handy Lab 100
• สามารถวัดค่า pH, mV, Temperature ได้
• มีระดับป้องกันน้ำและฝุ่น IP67
• ผลลัพธ์แบบทำซ้ำได้เนื่องจากมีฟังก์ชั่นการอ่านค่าอัตโนมัติ
• มีฟังก์ชั่น CMC โดยเป็นการควบคุมการวัดแบบต่อเนื่อง
• วัดค่า Conductivity, Specific resistance, Salinity, TDS, Temperature ได้
• มีระดับป้องกันน้ำและฝุ่น IP67
• ผลลัพธ์แบบทำซ้ำได้เนื่องจากมีฟังก์ชั่นการอ่านค่าอัตโนมัติ
• สามารถบันทึกข้อมูลได้ในตัวเครื่อง
Handy Lab 600
• สามารถวัดค่า pH, mV, Temperature ได้
• เทคโนโลยี IDS (Intelligent Digital Sensor) ลดการรบกวนสัญญาณการวัด
• มีฟังก์ชั่นอ่านค่าอัตโนมัติ ทำให้ได้ค่าการวัดที่เสถียร แม่นยำ
• มีฟังก์ชั่น CMC (Continuous Measurement Control) แสดงค่าการวัดที่อยู่ระหว่างช่วงที่ได้ทำการสอบเทียบไว้
• สามารถทวนสอบค่าการวัดได้
Handy Lab 680
• วัดค่า pH, mV, Temperature, Conductivity, Specific resistance, Salinity, TDS, DO concentration ได้
• เทคโนโลยี IDS (Intelligent Digital Sensor) ลดการรบกวนสัญญาณการวัด
• มีฟังก์ชั่นอ่านค่าอัตโนมัติ ทำให้ได้ค่าการวัดที่เสถียร แม่นยำ
• มีฟังก์ชั่น CMC (Continuous Measurement Control) แสดงค่าการวัดที่อยู่ระหว่างช่วงที่ได้ทำการสอบเทียบไว้
• สามารถทวนสอบค่าการวัดได้
เครื่องไตเตรทอัตโนมัติ สำหรับงานด้านเภสัชตำรับ (Pharmacopoeia)
เภสัชตํารับ (Pharmacopoeia) เป็นหนังสือที่ระบุถึงสารที่ใช้ในการบําบัดรักษาโรค (medical substances), ข้อกําหนดต่างๆ ที่เกี่ยวกับคุณภาพยา (quality specifications), ลักษณะทั่วไปของยา (descriptions), วิธีการทดสอบ (method of testing) และเกณฑ์ตัดสินหรือมาตรฐานของความบริสุทธิ์ของยา (legal standards of purity) ตลอดจนคุณภาพและความแรง (quality and strength) นอกจากนั้นยังประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับตัวยา โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการทดสอบหรือสูตรตํารับของตัวยานั้นๆที่ได้รับการคัดเลือกจากสถาบันที่เป็นที่รับรองของประเทศนั้นถือเป็นมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับของแต่ละประเทศ
การตรวจวิเคราะห์ (Assay) เป็นหนึ่งในข้อกําหนดที่สําคัญของตํารายา วิธีที่ดีต้องมีความเฉพาะเจาะจงสําหรับตัวยาเพียงอย่างเดียว มีความแน่นอน เที่ยงตรงและแม่นยํา ซึ่งวิธีการวิเคราะห์มีมากมาย อีกทั้งมีการปรับปรุงให้ได้วิธีใหมๆ ที่ให้ผลรวดเร็ว แม่นยําอยู่เสมอ โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 วิธีใหญ่ๆ ได้แก่
1) การวิเคราะห์โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical methods)
2) การวิเคราะห์โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมีและเครื่องมือวิทยาศาสตร์ (Physiochemical method)
3) การวิเคราะห์โดยใช้สัตว์ทดลองหรือใช้จุลชีพ (Biological method)
วิธีการวิเคราะห์ปฏิกิริยาทางเคมีที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ การไตเตรท (Titration) หลักสำคัญที่สุด คือ ผู้วิเคราะห์ต้องสามารถมองเห็นจุดยุติ (end point) อย่างชัดเจนถึงจะให้ผลการวิเคราะห์มีความแม่นยำ ทำให้การไตเตรทแบบธรรมดาจึงมีข้อด้อยในหลายๆด้าน เช่น ความผิดพลาดจากการสังเกตจุดยุติในการไตเตรท ที่เกิดในการวิเคราะห์หาปริมาณแอสคอบิกในตัวยา ซึ่งตัวอย่างยาบางชนิดต้องมีการเคลือบด้วยพอลิเมอร์บางตัวและมีการผสมสี ดังนั้นตัวอย่างที่ผ่านการบดแล้วนำไปละลายด้วยตัวทำละลาย จะมีสีเมื่อนำไปไตเตรทด้วยไอโอดีน สีที่เปลี่ยนไปในขณะการไตเตรทอาจจะไม่ชัดเจน ทำให้จุดยุติเห็นได้ไม่ชัดเจน ผลการวิเคราะห์จึงเกิดความคลาดเคลื่อนได้ เป็นต้น
สนใจผลิตภัณฑ์ติดต่อ
หน่วยงานเอกชน คุณพณิชรัตน์ โทร. 092-282-3339
หน่วยงานราชการ คุณนันท์นภัส โทร. 092-282-3223
หน่วยงานภาคตะวันออก คุณลัดดาวัลย์ โทร. 092-248-9991
หรือ Line ID : @entech